Skip to content

jow9wachirawit/LamiaceaeClassify

Repository files navigation

LamiaceaeClassify

https://colab.research.google.com/drive/1kQ1Xi3XFeiPex2DwPg2lc8Rr9W4ArKkm?usp=sharing

Dataset form google drive

https://drive.google.com/drive/folders/1hmc1Io_lg4_Q3fMqsmSPD9XpsBZ93FmJ?usp=sharing

Blog สำหรับรายละเอียด

https://medium.com/@wachirawit003/image-classification-%E0%B9%80%E0%B9%80%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B9%8C%E0%B8%81%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B2-3-%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94-480b9b823d85

ได้ใช้ข้อมูลของ

https://github.com/TAUTOLOGY-EDUCATION/DATASET

โมเดลที่ใช้บนเว็บคือ googlenet เพราะได้ความเเม่นยำสูงที่สุด

อธิบายโปรเจคฉบับย่อ

เป็นโปรเจค Image classification สำหรับพืชศ์วงกะเพรา 3 ชนิดคือ กะเพรา โหระพา เเละเเมงลัก เหตุผล 1.เป็นพืชที่ใช้ประกอบในอาหารไทยหลากหลายชนิด 2.พืชทั้งสามชนิดนี้มีลักษณะบางอย่างที่ทำให้เราเกิดความสับสน

โดยวิธีการเเก้ปัญหาในปัจจุบัน คือ ในปัจจุบันได้ใช้วิธีจำเเนกพืชสามชนิดนี้ด้วยการสังเกต ลักษณะใบ รูปร่างความมันวาวของผิวใบ เเละสี เพิ่มเติมจากการสอบถามบุคคลที่ได้ทำเเบบสอบถาม ได้มาว่า ที่สำคัญที่สุดคือกลิ่น

โดยได้เลือก architecture สำหรับการเทรนคือ goolgenet resnet152 vgg19 โดยมีข้อมูลทั้งหมด 4 ชุด คือ testset ที่เเบ่งไว้ก่อนสร้าง trainset เพื่อป้องกันไม่ให้รูปจาก trainset ไปอยู่ใน testset validationset คือรูปที่ถูกเเบ่งออกมาจาก trainset 20% เพื่อนตรวจสอบความเเม่นยำขณะเทรน เเละสุดท้าย validation mini คือชุดข้อมูลที่สุ่มเลือกจาก Trainset เพื่อใช้ในเเบบฟอร์ม เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบความสามารถในการจำเเนกของโมเดล

โดยโมเดลที่ทำได้ดีที่สุดคือ googlenet เเละนำไปทดสอบต่อใน validation mini เพื่อนำความเเม่นยำของโมเดลไปเรียบเทียบกับความเเม่นยำในการจำเเนกของบุคคลตัวอย่าง

โดยได้เปรียบเทียบกับกลุ่มคนด้วยการให้จำเเนกชุดข้อมูลเดียวกันได้ผลว่า โมเดลมีความเเม่นยำมากกว่ามนุษย์ 34.5% โดยเปรียบเทียบกับค่าเฉลียของข้อที่ตอบถูก ระหว่างกลุ่มคนตัวอย่างเเละ โมเดลโดย กลุ่มคนตัวอย่างที่ได้สุ่มเลือกมีค่าเฉลียบในการตอบถูก 52.16% เเละโมเดลทำได้ถึง 86.66% ทำให้สรุปได้ว่าโมเดลมีความสามารถในการจำเเนกมากกว่ากลุ่มคนกลุ่มนี้

ข้อจำกัดของโมเดล 1.เก่งกับใบมากกว่าต้น 2.ความเเม่นยำต่ำเมื่อนำไปใช้กับภาพที่มีสภาพเเวดล้อมเป็นพื้นหลัง 3.ข้อมูลที่ใช้เทรนได้มาจากผักตามตลาดทำให้โมเดลไม่เก่งกับภาพพืชที่ได้รับความเสียหายจากสภาพเเวดล้อม 4.ต้องโฟกัสภาพเพื่อให้เห็นรายละเอียดของใบชัดเจนก่อน เพื่อให้โมเดลมีประสิทธิภาพสูงสุด

About

No description or website provided.

Topics

Resources

License

Stars

Watchers

Forks

Releases

No releases published

Packages

No packages published