Skip to content

Home monitoring system build with Raspberry Pi, C Language and Firebase 🔥🔥

Notifications You must be signed in to change notification settings

compro-itkmitl/Home-Monitoring-System

Folders and files

NameName
Last commit message
Last commit date

Latest commit

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

Repository files navigation

Introduction

สวัสดีครับ วันนี้กลุ่ม Home Monitoring System ได้จัดทำระบบเก็บข้อมูลต่าง ๆ ในบ้านขึ้นมา รวมถึงระบบเฝ้าระวังอย่าง Motion Detector ที่จะสามารถจับตาดูความเรียบร้อยภายในบ้านได้ หากมีความเคลื่อนไหวก็จะสามารถถ่ายภาพและแจ้งเตือนผ่าน Telegram ได้อีกด้วย ~

How to use

สำหรับวิธีการใช้งาน ให้ไปที่โฟล์เดอร์หลัก แล้วพิมพ์ make ผ่าน Command Line เพื่อเป็นการ สร้างไฟล์ Executable หลังจากนั้น โปรแกรมทำงานโดยอัตโนมัติ (สามารถทำงานได้บน Raspberry Pi ที่ติดตั้ง WiringPi แล้วเท่านั้น)

Configurations

โปรแกรมของเรา จะสามารถรันได้บน Raspbian ที่ลง WiringPi แล้วเท่านั้น เนื่องจากเป็นโปรแกรมที่ออกแบบมาเพื่อทำงานบน Raspberry Pi เท่านั้น โดย วิธีการใช้งานนั้นมีดังนี้

1. ทำงานติดตั้ง Raspberry Pi ดังรูป

2. ทำการ Clone Repository ลงมา~

git clone https://github.com/compro-itkmitl/Home-Monitoring-System.git

3. เข้าไปใน Directory ของโปรแกรม

cd Home-Monitoring-System

4. จากนั้นเข้าไปใน Directory RaspberryPi

cd RaspberryPi

5. ทำการ Setup Environment สำหรับรันโปรแกรม

export DEVICE_ID="example" TELEGRAM_USER="1234" ACCESSKEY="key"
  • DEVICE_ID คือ ID ที่ใช้บอกว่าเป็น device ตัวไหน
  • TELEGRAM_USER คือ Chat ID ของ Telegram ที่ต้องการให้แจ้งเตือน
  • ACCESSKEY คือ Key ที่ใช้ในการ Authentication เพื่อนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ

6. สั่ง Build & Run โปรแกรม

make

Interfaces

Telegram Bot Interface

Web Interface

Devices List

Add New Device

Realtime Graph

Build Status

Master Web
CircleCI CircleCI

Tools

References

Team Members

ชื่อ นามสกุล GitHub Username รหัสนักศึกษา
https://www.facebook.com/wiput.pootong Wiput Pootong @wiput1999 60070090
Sakorn Saokaew @CAT6e 60070102
https://www.facebook.com/810Teams Teerapat Kraisrisirikul @810Teams 60070183

Assistant Teachers

ผศ. ดร. กิติ์สุชาต พสุภา ผศ. ดร. ปานวิทย์ ธุวะนุติ

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา Computer Programming (รหัสวิชา 06016206)

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง