Skip to content
Chingchai Humhong edited this page Sep 27, 2017 · 4 revisions

Welcome to the Nan basin landslide wiki!

Let's track

Week 1: 3/07/2017 - 9/07/2017

  • ปรับปรุง Service ข้อมูลน้ำฝนเนื่องจากมีบางสถานีตรวจวัดไม่มีค่าการตรวจวัด
  • วิเคราะห์ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่มในลุ่มน้ำน่านบน Desktop เพื่อทดสอบความถูกต้องของแบบจำลอง
  • ออกแบบและพัฒนาระบบสำหรับการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่มอัตโนมัติในพื้นที่ลุ่มน้ำน่าน
  • ดำเนินการติดตั้งระบบ Python, PotgreSQL/PostGIS, GRASS, QGIS, GeoServer, ZOO Kernel, ZOO Service (WPS Platform)

Week 2: 10/07/2017 - 16/07/2017

  • วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงดินถล่ม โดยใช้วิธีการแบบจำลองทวิ(Binary model) อ้างอิงแบบจำลองจากงานวิจัยของ(ชฎาและคณะ,2550).
  • วิเคราะห์ Flow accumulate โดยใช้โมดูล r.watershed (https://grass.osgeo.org/grass72/manuals/r.watershed.html)
  • วิเคราะห์ลักษณะภูมิประเทศ(Landform) โดยใช้โมดูล r.geomorphon (https://grass.osgeo.org/grass72/manuals/addons/r.geomorphon.html)
  • สกัดเอาหมู่บ้านที่ตกอยู่ในพื้ื้นที่ลาดชันเชิงเขา (Slope) โดยใช้วิธีการ (Link)
  • เพิ่ม service ข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศรัศมี 240 กิโลเมตร จ.พิษณุโลก และจ.น่าน แบบอัตโนมัติ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบ Link)
  • นำระบบที่อยู่ในระหว่างการพัฒนา (alpha stage) ขึ้นสู่เครื่องแม่ข่ายเพื่อทดสอบใช้งานกลุ่มผู้ใช้ภายใน Download ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเข้าทดสอบได้ที่ Link

Week 3: 17/07/2017 - 23/07/2017

  • วิเคราะห์ลุ่มน้ำย่อย (sub-watershed) โดยมีเงื่อนไขว่าลุ่มย่อยน้ำจะต้องอยู่ในลุ่มน้ำสาขาของตนเองและขอบจะต้องไม่เกินลุ่มน้ำสาขา
  • สร้างระบบหลังบ้าน (Backend) สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่มในลุ่มน้ำน่านในเครื่องแม่ข่าย (Server side)
  • เชื่อมต่อฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ PotgreSQL/PostGIS ให้สามารถทำงานร่วมกับ GRASS GIS สำหรับใช้ในการวิเคราะห์เพื่อจะส่งข้อมูลหมู่บ้านที่เสียงดินถล่มสำหรับแสดงผลหน้าเว็บแผนที่